Background



ข้อมูลพื้นฐานเทศบาล
สภาพทั่วไป
4 ตุลาคม 2562

0


ที่ตั้ง                    
  เทศบาลตำบลคลองปราบ     ตั้งอยู่  หมู่ 2 ตำบลคลองปราบ   อำเภอบ้านนาสาร   จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ ของอำเภอบ้านนาสาร  ระยะห่างจากอำเภอ   ประมาณ  7  กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตดังนี้
 
  ทิศเหนือ ติดต่อกับ        เทศบาลเมืองนาสาร          
  ทิศใต้ ติดต่อกับ        ตำบลพรุพี            
  ทิศตะวันออก ติดต่อกับ        ตำบลพรุพี  และตำบลเพิ่มพูนทรัพย์        
  ทิศตะวันตก ติดต่อกับ        ตำบลน้ำพุ  และตำบลควนศรี          
เนื้อที่                  
  องค์การบริหารส่วนตำบลคลองปราบ มีพื้นที่ประมาณ   48.10  ตารางกิโลเมตร หรือ   30,062.5   ไร่     
ภูมิประเทศ                  
  ลักษณะภูมิประเทศ ทิศตะวันออกมีลักษณะเป็นพื้นที่ราบเชิงเขาส่วนพื้นที่อื่นๆในตำบลลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนชัน  มีความลาดชัน 2-10 เปอร์เซ็นต์เปอร์เซ็นต์  มีลำคลองห้วยไหลผ่านคือ คลองขรม  คลองช้าง   คลองน้ำขุ่น    และลำห้วยบอน  มีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่  แร่ยิปซั่ม 
 
  สภาพดิน เป็นดินร่วนปนทรายเหมาะสำหรับทำสวนเช่น สวนเงาะ   ทุเรียน   ยางพารา        
  สภาพภูมิอากาศ     ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้     ซึ่งทำให้มีช่วงฤดูฝนยาวนานและมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านทำให้ฤดูร้อนและฝนระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทำให้ฤดูฝนมีน้ำมากเกินไปและฤดูร้อนเกิดการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ในช่วงฤดูแล้ง
 
จำนวนหมู่บ้าน                  
  องค์การบริหารส่วนตำบลคลองปราบ ประกอบด้วยหมู่บ้าน 5 หมู่บ้าน มีพื้นที่อยู่ในองค์การบริหารส่วนตำบล เต็มทั้ง 5 หมู่บ้าน ดังนี้
 
  1.บ้านหนองปลิง                     
              2.บ้านทางข้าม                  
  3.บ้านตลาดคลองปราบ                
  4.บ้านหนองเภา                  
  5.บ้านคีรีราษฎร์                  

 

จำนวนประชากร  (ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ เดือน เมษายน 2555)

โครงสร้างพื้นฐาน
4 ตุลาคม 2562

0


การคมนาคม      
-  สถานีรถไฟ จำนวน 1 แห่ง
-  ทางหลวงแผ่นดิน จำนวน 1 สาย
-  ทางหลวงจังหวัด จำนวน 1 สาย
-  ถนนหมู่บ้าน จำนวน 31 สาย
-  ทางหลวงชนบท จำนวน 3 สาย
- โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 5 เครื่อง
การไฟฟ้า           
-ไฟฟ้าเข้าถึงทุกครัวเรือนทั้ง  5  หมู่บ้าน        
แหล่งน้ำธรรมชาติ      
- ลำห้วย   จำนวน 4 สาย
- หนองน้ำ   จำนวน 15 แห่ง
- คลอง   จำนวน 1 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น      
- สระเก็บน้ำ จำนวน 12 แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
- ฝาย   จำนวน 12 แห่ง
- บ่อน้ำตื้นสาธารณะ จำนวน 61 แห่ง
- บ่อบาดาล   จำนวน 12 แห่ง
- ถังเก็บน้ำ   จำนวน 6 แห่ง
สถานที่ท่องเที่ยว      
- สวนสาธารณะถ้ำขรม , ถ้ำพระ  หมู่ที่ 1 จำนวน 1 แห่ง
- สวนสาธารณะหนองเภา   หมู่ที่ 4 จำนวน 1 แห่ง

 

สภาพทางเศรษฐกิจ
4 ตุลาคม 2562

0


อาชีพ     ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ  97.54    ของประชากรทั้ง  อบต.  และร้อยละ  2.06   ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป   ค้าขายและรับราชการ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ   ได้แก่ ยางพารา เงาะ ทุเรียน และเพาะชำกล้าไม้
  1.  การอุตสาหกรรมเหมืองแร่ยิปซั่ม 4 แห่ง      
  2.  แปลงเพาะชำกล้าไม้ 6 แห่ง      
  3.  ร้านค้า 63 แห่ง      
  4.  ร้านซ่อมฯ 9 แห่ง        
  5.  ฟาร์มไก่ - แห่ง      
  6.  สถานที่รับซื้อน้ำยาง , ยางแผ่น 11 แห่ง      
             
  หน่วยธุรกิจในเขตอบต.          
  - ธนาคาร จำนวน - แห่ง    
  - ห้องพัก จำนวน - แห่ง    
  - ปั้มน้ำมันและก๊าซ จำนวน - แห่ง    
  - โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 4 แห่ง    
  - บริการสถานห้องพัก จำนวน 1 แห่ง    
  -  โรงฆ่าสัตว์(ไก่) จำนวน 1 แห่ง     
             

 

สภาพทางสังคม
4 ตุลาคม 2562

0


การศึกษา        
- โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง
- การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) จำนวน 1 แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน จำนวน 3 แห่ง
สถาบันและองค์กรทางศาสนา      
- วัด   จำนวน 2 แห่ง
- สำนักสงฆ์   จำนวน 1 แห่ง
การสาธารณสุข      
-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปราบ  จำนวน 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 5 แห่ง
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน      
- ที่พักสายตรวจประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร จำนวน 1 แห่ง

 

ข้อมูลอื่นๆ
4 ตุลาคม 2562

0


ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่        
- แหล่งแร่ยิปซั่ม   เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ทำรายได้ให้ตำบล   และเกษตรกรในพื้นที่  ที่มีอาชีพ 
- น้ำผึ้ง ในปีหนึ่งๆ หมู่บ้านจะมีรายได้จากการประมูลรังผึ้งที่อยู่ตามธรรมชาติ, หน้าผา  
- ถ้ำพระ  เป็นแหล่งอนุรักษ์ศิลปะวัตถุโบราณตามธรรมชาติที่งดงามและพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
มวลชนจัดตั้ง        
- ลูกเสือชาวบ้าน      1 รุ่น   126 คน
- ไทยอาสาป้องกันชาติ 2 รุ่น 60 คน
- กองหนุนเพื่อความมั่นคง 1 รุ่น 75 คน
- อาสาสมัครรักษาความปลอดภัย 1 รุ่น 125 คน
- กลุ่มเยาวชน 2 รุ่น 57 คน
- กลุ่มสตรี   2 รุ่น 325 คน
- ศูนย์ อปพร.ตำบล 2 รุ่น 95 คน
- อสม.   2 รุ่น 85 คน